ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 46
หน้าตา
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ประเทศไทย |
เมือง | กรุงเทพมหานคร |
วันที่ | 22 – 25 มีนาคม พ.ศ. 2561 |
ทีม | ไทย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สโลวาเกีย กาบอง (จาก 3 สมาพันธ์) |
สถานที่ | ราชมังคลากีฬาสถาน (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | สโลวาเกีย (สมัยที่ 2nd) |
รองชนะเลิศ | ไทย |
อันดับที่ 3 | กาบอง |
อันดับที่ 4 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 4 |
จำนวนประตู | 9 (2.25 ประตูต่อนัด) |
การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพครั้งที่ 46 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 22 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2561 โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 4 ทีม จะแข่งขันกันที่กรุงเทพมหานคร
ครั้งนี้ประกอบไปด้วยเจ้าภาพ ไทย และสามทีมรับเชิญ. สามทีมที่ได้รับเชิญนั้นคือ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, สโลวาเกีย และ กาบอง.[1]
ทีมที่เข้าร่วม
[แก้]ประเทศ | สมาคม | สมาพันธ์ | อันดับโลกฟีฟ่า1 | ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา |
---|---|---|---|---|
ไทย (เจ้าภาพ) | เอฟเอ ไทยแลนด์ | เอเอฟซี | 129 | ชนะเลิศ (สิบห้าสมัย; สมัยล่าสุด: 2017) |
กาบอง | กาบอง เอฟเอฟ | ซีเอเอฟ | 95 | ครั้งแรก |
สโลวาเกีย | สโลวัก เอฟเอ | ยูฟ่า | 28 | ชนะเลิศ (2004) |
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เอฟเอ | เอเอฟซี | 78 | อันดับที่ 4 (2016) |
- 1 การจัดอันดับโลกฟีฟ่า ณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561.[2]
ภูมิหลัง
[แก้]ฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก
[แก้]กาบอง | สโลวาเกีย | ไทย | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | ||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
คู่แข่งขัน | เหย้า | เยือน | คู่แข่งขัน | เหย้า | เยือน | คู่แข่งขัน | เหย้า | เยือน | คู่แข่งขัน | เหย้า | เยือน |
โกตดิวัวร์ | แพ้ 0–3 | ชนะ 2–1 | อังกฤษ | แพ้ 0–1 | แพ้ 1–2 | ออสเตรเลีย | เสมอ 2–2 | แพ้ 1–2 | ออสเตรเลีย | แพ้ 0–1 | แพ้ 0–2 |
มาลี | ชนะ 3–1 | เสมอ 0–0 | ลิทัวเนีย | ชนะ 4–0 | ชนะ 2–1 | อิรัก | แพ้ 1–2 | แพ้ 0–4 | อิรัก | ชนะ 2–0 | แพ้ 0–1 |
โมร็อกโก | เสมอ 0–0 | แพ้ 0–3 | มอลตา | ชนะ 3–0 | ชนะ 3–1 | ญี่ปุ่น | แพ้ 0–2 | แพ้ 0–4 | ญี่ปุ่น | แพ้ 0–2 | ชนะ 2–1 |
— | — | — | สกอตแลนด์ | ชนะ 3–0 | แพ้ 0–1 | ซาอุดีอาระเบีย | แพ้ 0–3 | แพ้ 0–1 | ซาอุดีอาระเบีย | ชนะ 2–1 | แพ้ 0–3 |
— | — | — | สโลวีเนีย | ชนะ 1–0 | แพ้ 0–1 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | เสมอ 1–1 | แพ้ 1–3 | ไทย | ชนะ 3–1 | เสมอ 1–1 |
ผลงานคิงส์คัพครั้งที่ผ่านมา
[แก้]สโลวาเกีย | ไทย | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 35 | ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 45 | ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 44 | ||||||
รอบ | คู่แข่งขัน | ผล | รอบ | คู่แข่งขัน | ผล | รอบ | คู่แข่งขัน | ผล |
รอบรองชนะเลิศ | ฮังการี | ชนะ 1–0 | รอบรองชนะเลิศ | เกาหลีเหนือ | ชนะ 3–0 | รอบรองชนะเลิศ | จอร์แดน | แพ้ 1–3 |
รอบชิงชนะเลิศ | ไทย | ชนะ 1–1 (5–4ล) | รอบชิงชนะเลิศ | เบลารุส | ชนะ 1–1 (4–5ล) | รอบชิงอันดับ 3 | ซีเรีย | แพ้ 0–1 |
ชนะเลิศ (1) | ชนะเลิศ (15) | อันดับ 4 |
สนามแข่งขัน
[แก้]แมตช์ทั้งหมดจัดขึ้นที่ ราชมังคลากีฬาสถาน ใน กรุงเทพมหานคร, ไทย[3]
กรุงเทพมหานคร |
---|
ราชมังคลากีฬาสถาน |
ความจุ: 49,772 |
ผู้เล่น
[แก้]แมตช์
[แก้]เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, เวลาอินโดจีน (UTC+7)[4]
กฎกติกาการแข่งขัน
[แก้]- 90 นาที.
- การดวลลูกโทษ ถ้าในกรณีที่จำเป็นโดยไม่มีการต่อเวลาพิเศษ.
- เปลี่ยนตัวผู้เล่นได้สูงสุด 3 คน.
สายการแข่งขัน
[แก้]รอบรองชนะเลิศ | นัดชิงชนะเลิศ | ||||||
22 มีนาคม - กรุงเทพมหานคร | |||||||
สโลวาเกีย | 2 | ||||||
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 1 | ||||||
25 มีนาคม - กรุงเทพมหานคร | |||||||
สโลวาเกีย | 3 | ||||||
ไทย | 2 | ||||||
นัดชิงอันดับที่ 3 | |||||||
22 มีนาคม - กรุงเทพมหานคร | 25 มีนาคม - กรุงเทพมหานคร | ||||||
ไทย (ลูกโทษ) | 0 (4) | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ | 0 | ||||
กาบอง | 0 (2) | กาบอง | 1 |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]ไทย | 0–0 | กาบอง |
---|---|---|
รายงาน (1) รายงาน (2) |
||
ลูกโทษ | ||
ธีราทร ธีรศิลป์ พีระพัฒน์ ฟิลิป พรรษา |
4–2 | Poko Méyé Martinsson Bulot |
นัดชิงอันดับที่ 3
[แก้]กาบอง | 1–0 | สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ |
---|---|---|
Madinda 14' | รายงาน |
นัดชิงชนะเลิศ
[แก้]ไทย | 2–3 | สโลวาเกีย |
---|---|---|
จักรพันธ์ 42' พรรษา 79' |
รายงาน (1) รายงาน (2) |
ดูดา 10' มัก 34' Pačinda 68' |
ไทย
|
สโลวาเกีย
|
|
|
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
|
กติกา
|
ชนะเลิศ
[แก้] ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 46 ชนะเลิศ |
---|
สโลวาเกีย ครั้งที่สอง |
รางวัล
[แก้]- รางวัลแมนออฟเดอะแมตช์ (M-150 MAN OF THE MATCH) เกมนัดชิงชนะเลิศจากเครื่องดื่ม เอ็ม-150 ได้แก่ ชนาธิป สรงกระสินธ์ (ไทย)
อันดับดาวซัลโว
[แก้]หมายเหตุ : ไม่รวมประตูลูกจุดโทษในช่วงเสมอ
- 1 ประตู
การถ่ายทอดสด
[แก้]ประเทศ | สถานีโทรทัศน์ | อ้างอิง |
---|---|---|
สโลวาเกีย | TV JOJ | [5] |
ไทย | ไทยรัฐทีวี | [6] |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "กาบอง ยืนยันเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลถ้วยพระราชทาน คิงส์ คัพ ทีมล่าสุด". FA Thailand. 05 มกราคม 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-01-08. สืบค้นเมื่อ 05 มกราคม 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ FIFA.com. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking - Ranking Table - FIFA.com". FIFA.com (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2018-02-20.
- ↑ "นายกสมาคมฯยัน คิงส์คัพ แข่ง 23 มี.ค. นี้ ใช้ราชมังฯ เป็นสังเวียนดวลแข้ง". FA Thailand. 04 มกราคม 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-07. สืบค้นเมื่อ 05 มกราคม 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ "จับติ้วคิงส์คัพหน46 "ช้างศึก" ชน ทีมชาติกาบองหวดรอบแรก 22 มี.ค.นี้". Siamsport. 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ "Zápasy Slovenska na pohári King's Cup v Thajsku aj v priamom prenose | ProFutbal.sk" (ภาษาสโลวัก). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-21. สืบค้นเมื่อ 2018-03-20.
- ↑ "ส.บอล ยัน! ฟุตบอลคิงส์คัพแข่ง 23 มี.ค. นี้ ไทยรัฐทีวียิงสด". ไทยรัฐออนไลน์. 04 มกราคม 2561. สืบค้นเมื่อ 05 มกราคม 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย – เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ